เครื่องเล่นดนตรีไทย

เครื่องเล่นดนตรีไทยในแต่ละภาค  

เครื่องเล่นดนตรีไทย เครื่องเล่นดนตรีของไทยเรานั้นได้เบ่งออกในแต่ละภาคนั้นที่เราแยกออกมาเป็นภาคเหนือ ภาคอีสาร ภาคกลาง และภาคใต้ ซึ่งในแต่ละภาคนั้นก็จะแบ่งแตกต่างกันออกไปเครื่องดนตรีแต่ละภาคเป็นดนตรีพื้นบ้านที่ถ่ายทอดกันออกมาด้วยวาจาซึ่งเรียนรู้ผ่านทางการฟัง

มากกว่าการอ่าน และก็เป็นการพูดต่อๆกันมาแบบว่าปากต่อปากโดยที่ไม่ได้มีการจดทะเบียนหรือว่าจดบันทึกเอาไว้เลย

จึงกลายเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมของชาวบ้านตั้งแต่อดีตเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เรียกได้ว่าเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียดจากการที่เราทำงานและก็ช่วยสร้างสีสันให้แก่ชาวหมู่บ้านหรือว่าหมู่คณะและก็ทำให้เกิดความรักและความสืบทอดกันมารุ่นต่อรุ่นจนกลายมาเป็นเอกลักษณ์พื้นบ้านในท้องถิ่นไป  

 เครื่องดนตรีภาคกลาง ภาคกลางนั้นเครื่องดนตรีนั้นก็จะประกอบไปด้วย ดีด  สี ตี เป่า โดยเครื่องดีด ได้แก่ จะเข้ และจ้องหน่อง  เครื่องสี ได้แก่ ซอด้วยและซ้ออู้ เครื่องตีนั้นได้แก่ ระนาดเอก  ระนาดทุ้ม ระนาดทองระนาดทุ้มเล็ก ฆ้อง โหม่ง ฉิ่ง ฉาบ และกรับ เครื่องเป่านั้น

ได้แก่  ขลุ่ยและปี่ เครื่องเล่นของดนตรีของภาคกลางนั้นจะมีการถูกพัฒนาในลักษณะผสมผสานกับดนตรีเครื่องหลวงและได้มีการพัฒนาจากดนตรี ปี่ และกลองเป็นหลัก มาเป็นระนาดและฆ้องจนมาถึงเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ 

เครื่องดนตรีภาคเหนือ ในยุคแรกจะเป็นเครื่องดนตรีประเภทตี ได้แก่ท่อนไม้ ท่อนไม้กลวง ที่ใช้ในพิธีกรรมต่างๆ และต่อมานั้นก็ได้พัฒนามาเป็นการเอาหนังสัตว์มาขึงที่ปากท่อนไม้ กลวงไว้กลายเป็นเป็นเครื่องดนตรีที่เรียกว่ากลองและต่อมานั้นก็ได้พัฒนารูปแบบของกลองให้แตกต่างออกไป เช่กลองที่ขึงปิดหน้าเดียวได้แก่กลองกลองรำมะนา กลองยาว กลองแอว และก็กลองที่ขึงด้วยหนังสัตว์ทั้งสองหน้าได้แก่  กลองมองเซิง กลองสองหน้า กลองตะโพน และก็นอกจากนี้ก็ยังมีเครื่องตีที่ทำด้วยโลหะ เช่น ฆ้อง ฉาบ ส่วนเครื่องดนตรีประเภทเป่า ได้แก่ ขลุ่ย ย่ะเอ้ ปี่แน ปี่มอญ สำหรับลักษณะเครื่องดนตรีของภาคเหนือนั้น คือนำเครื่องดนตรี ดีด สี ตี เป่า มาผสมวงกันให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพรเราะ โดยเฉพาะสำเนียงทำนองที่พลิ้วไหวตามอากาศ ความอ่อนนุ่มนวลของธรรมชาติ นอกจากนี้ยัง

เครื่องดนตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  วงดนตรีทางภาคอีสานนั้นจะมีลักษณะเฉพาะตามพื้นที่ 3 กลุ่ม คือ  กลุ่มอีสานเหนือ กลุ่มอีสานกลาง โดยที่จะนิยมดนตรีที่มีหมอลำ ที่มีการเป่าแคน และดีด พิณ ประสานเสียงกับการร้องเพลงส่วนกลุ่มอีสารใต้จะนิยมดนตรีกันตรึม ซึ่งเป็นดนตรีบรรเลงที่ไพรเราะของชาวอีสานใต้ที่มีเชื้อสายทางเขมร 

และนอกจากนี้ยังมีวงดนตรีวงพิณพาทย์และวงมโหรีด้วยชาวบ้านแต่ละกลุ่มจะบรรเลงดนตรีเหล่านี้เพื่อความสนุกสนานครื้นเครง ใช้ประในการเล่น การแสดง และพิธีกรรมต่างๆ เช่น ลำฝีฟ้า ที่ใช้แคนในการเป่ารักษาโรค และงานศพแบบอีสานที่ใช้วงตุ้มโมงบรรเลง นับเป็นลักษณะเด่นของดนตรีพื้นบ้านอีสานที่แตกต่างจากภาคอื่นๆ  

 

 

ขอขอบคุณเรื่องราวดีๆนี้จาก  เว็บบาคาร่าฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ